บทความ

                                                                       บทที่3                                          วิธีการดำเนินการ 3.1 วัสดุอุปกรณ์                               สารเคมี          1.เลื่อย                                       1.NaOH ความเข้มข้น 30% 50%        2.กบไสไม้                      2.Isopropanol 3.เครื่องปั่นแห้ง                    3.กรดคลอโรอะซีติก 4.กระชอนพลาสติก               4.Ethanol  5.บอกเกอร์                           5.Methanol  6.กระบอกตวง                       6.โซเดียมไฮโปคลอไรท์NaOCL 7.แท่งแก้วคนสาร                     7.ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2)  8.Flask 9.แผ่ยฟอยล์อลูมิเนียม  10.Water bath  11.ผ้าขาวบาง  12.Petri dish 13.ตู้อบลมร้อน              3.2ขั้นตอนการดำเนินงาน   3.2.1 ขั้นตอนการเตรียมผงไมยราบยักษ์        1. คัดเลือกต้นไมยราบยักษ์ โดยเลือกต้นที่มีอายุปานกลางจากการดูลักษณะสีของลำต้น        2. ตัดลำต้นไมยราบยักษ์เป็นท่อน จากนั้นไสด้วยกบไสไม้จะได้ขี้เลื่อยไมยราบยักษ์        3. นำขี้เลื่อยไมยราบยักษ์มาปั่นให้เป็นผงด้วยเครื่องปั่นแห้ง แล้
           บทที่ 4 ผลการดำเนินการ   ผลจากการศึกษาค้นคว้ามีดังนี้ 1. ผลการทดลองเมื่อใช้ NaOH ความเข้มข้น 30% และ 50%   ความเข้มข้นของ NaOH   ความหนา (มม.) อัตราเร็วในการซึมผ่านของไอน้ำ (g/day.m2) แรงต้นทานการดึง (N/mm2) 30% NaOH-CMC   1 38 0.0960 50% NaOH-CMC   1 47   0.0024
  บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและอภิปรายผล   ไมยราบยักษ์เป็นวัชพืชประเภทรุกรานอย่างรุนแรงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศ ดังนั้นการกำจัดไมยราบยักษ์ต้องใช้สารเคมีที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม  จากการศึกษาพบว่า ไมยราบยักษ์สามารถนำมาเป็นสารตั้งต้นในการผลิตเซลลูโลส เนื่องจากประกอบด้วย        อัลฟ่าเซลลูโลสมากถึง 73.81% ซึ่งเป็นสารตั้งต้นเพื่อนำมาใช้เป็น CMC  สำหรับผลิตแผ่นฟิล์มพลาสติกชีวภาพด้วยวิธีการหล่อขึ้นรูปโดยใช้สารละลาย จากการทดลอง แผ่นฟิล์มพลาสติกชีวภาพที่ใช้ NaOH 30% ให้ประสิทธิภาพของอัตราการซึมผ่านไอน้ำและแรงต้านทานการดึงดีกว่า NaOH 50% นอกจากนี้ ยังสามารถปรับปรุงคุณภาพแผ่นฟิล์มพลาสติกชีวภาพโดยใช้สารเติมแต่ง คือ กลีเซอรอล ทำให้เพิ่มความยืดหยุ่นมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ฟิล์มชีวภาพยังมีค่าอัตราเร็วในการซึมผ่านของไอน้ำสูงและค่าความต้านทานแรงดึงต่ำ ดังนั้นฟิล์มชีวภาพจากไมยราบยักษ์จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงคุณภาพต่อไป
บทที่  2  เอกสารที่เกี่ยวข้อง   ในโครงงานเรื่อง การสกัดและผลิตฟิล์มชีวภาพจากเซลลูโลสของต้นไมยราบยักษ์ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารอ้างอิง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. ไมยราบยักษ์ 2. เซลลูโลส 3. การสกัดเซลลูโลส 4. คาร์บอกซีเมทิลเซลลูโลสหรือซีเอ็มซี 5. กลีเซอรอล (Glycerol) 6. พลาสติก ภาพที่ 1 ต้นไมยราบยักษ์ ชื่อวงศ์   MIMOSACEAE ชื่อวิทยาศาสตร์   Mimosa pigra L. ชื่อสามัญ     Giant sensitive plant, Giant mimos (สมชาย  หาญวงษา, 2548 ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลำต้น ลำต้นไมยราบยักเป็นพืชตระกูลถั่ว และเป็นไม้ยืนต้น มีลำต้นสูงได้มาก ประโยชน์จากไมยราบยักษ์ • ช่วยป้องกันการพังทลายของดิน • ช่วยตรึงไนโตรเจน และช่วยบำรุงดิน 2. เซลลูโลส (cellelose) เซลลูโลส เป็นส่วนประกอบหลักที่สำคัญของผนังเซลล์พืช รวมถึงสามารถพบได้ในสัตว์และแบคทีเรียบางชนิด ร่างกายของมนุษย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ 3. การสกัดเซลลูโลส การสกัดเซลลูโลสจากพืชทำโดยการกำจัดองค์ประกอบทางเคมี อื่นๆ ได้แก่ ลิกนิน เฮมิเซลลูโลส และสารอื่นๆที่สกัดได้ด้วยตัวทำละลาย (Extractives) การกำจัดทั้งเฮมิเซลลูโลสและสารสกัดจากตัวทำละลาย สามารถทำได้ในขั้นต
                                                          บทที่1                                                                             บทนำ               1 . ที่มาและความสำคัญ     ไมยราบยักษ์เป็นพืชดอกมีลักษณะเป็นไม้พุ่มในวงศ์ถั่งและวัชพืชต่างถิ่นประเภทรุกรานที่มีความรุนแรง เนื่องจากสามารถเติบโตและแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว อีกทั้งมีหนามแหลม มีรากแก้วที่ยึดเกาะดินได้อย่างดี จึกกำจัดได้ยาก ทำให้ขวางทางน้ำไหล บดบังทัศนียภาพและลดความหลากหลายของระบบนิเวศน์จนทำให้พื้นที่ธรรมชาติเสียไป    เซลลูโลส(Cellulose) เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์ในพืชซึ่งเป็นเส้นใยที่ไม่ละลายน้ำ โครงสาร้างประกอบด้วยน้ำตาลกลูโคส(Glucose)ต่อกันด้วยพันธะไกลโคซิดิก ชนิดเบต้า-1,4เป็นสายยาวมากกว่า2000หน่วย แต่ละสายของเซลลูโลสเรียงตัวขนานกัน จับกันอย่างหลวมๆ เซลลูโลสมีความสำคัญในอุตสาหกรรมอาหารอย่างมาก    ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะนำเนื้อไม้จากลำต้นไมยราบยักษ์ซึ่งมีองค์ประกอบทางชีวเคมี คือ แอลฟาเซลลูโลส ประกอบด้วยบีตากลูโคส เป็นอนุพันธ์เชื่อมกันด้วยพันธะไกลโคซีดิก ดังนั้น ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะสกัดเซลลูโลส
                                                                                                                                            วัตถุประสงค์                   เพื่อสกัดเซลลูโลสจากลำต้นไมยราบยักษ์           เพื่อผลิตแผ่นฟิมล์ชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสจากลำต้นไมยราบยักษ์           เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผ่นฟิลม์ชีวภาพเมื่อให้โซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้ม             ข้น30%และ50%           เพื่อเปรีบยเทียบประสิทธิภาพของฟิลม์ชีวภาพจากลำต้นไมยราบยักษ์กับแผ่นพลาสติกความหนาแน่นต่ำ                                             
                                                                          บทคัดย่อ        โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การสกัดและผลิตฟิล์มชีวภาพจากเซลลูโลสของต้นไมยราบยักษ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดเซลล์โลส และนำมาผลิตเป็นแผ่นฟิล์มพลาสติกชีวภาพ เพื่อบดการใช้วัตถุดิบ ในการผลิตแผ่นฟิล์มพลาสติกจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีโดยมีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผ่นฟิล์มเมื่อใช้ NaOH 30% และ NaOH 50% ในขั้นตอนการสังเคราะห์คาร์บอกซีเมธิลเซลลูโลส หรือ CMC และเปรียบเทียยประสิทธิภาพของแผ่นฟิล์มพลาสติกความหนาแน่นต่ำหรือ LDPE       ซึ่งจากผลการทดลอง สรุปได้ว่า เมื่อใช้ร่วมกับสารเติมแต่ง คือ กลีเซอรอล แผ่นฟิล์มพลาสติกชีวภาพที่ใช้  aOH 30%ให้ประสิทธิภาพของอัตราการซึมผ่านไอน้ำและแรงต้านทานการดึงดีกว่า NaOH 50% และมีคุณสมบัติที่สามารถพัฒนาเพื่อใช้แทนพลาสติก LDPE ได้